ค้นหาบล็อกนี้

27 กุมภาพันธ์ 2554

Learning Management System หรือ LMS

Learning Management System หรือ LMS เปนระบบการจัดการ
เกี่ยวกับการบริหารการเรียนการสอน ในรูปแบบ e-Learning เพื่อจัดการกับการใชคอรสแวร
(Courseware) ในรายวิชาตางๆ ระหวางผูสอน (Instructors) ผูเรียน (Learners) และผูดูแล
ระบบ (Administrator) โดยออกแบบระบบเพื่อเปนซอฟตแวรที่ทําหนาที่บริหารจัดการเรียน
การสอนผานเว็บ จะประกอบดวยเครื่องมืออํานวยความสะดวก เชน โปรแกรมจะทําหนาที่
ตรวจสอบการเขามาใชบทเรียน เนื้อหา กิจกรรมตาง ๆ ตารางเรียน ไปรษณียอิเล็กทรอนิกส
หองสนทนา กระดานถามตอบ การทําแบบทดสอบ เปนตน และองคประกอบที่สําคัญ คือ การ
เก็บบันทึกขอมูลกิจกรรมการเรียนของผูเรียนไวบนระบบเพื่อผูสอนสามารถนําไปวิเคราะห
ติดตามและประเมินผลการเรียนการสอนไดอยางมีประสิทธิภาพ
องคประกอบของ LMS
1. ระบบการจัดการหลักสูตร (Course Management) กลุมผูใชงานแบงเปน 3
ระดับคือ ผูเรียน ผูสอน และผูบริหารระบบ โดยสามารถเขาสูระบบจากที่ไหน เวลาใดก็ไดโดย
ผาน เครือขายอินเตอรเน็ต ระบบสามารถรองรับจํานวน user และจํานวนบทเรียนไดไมจํากัด
โดยขึ้นอยูกับ hardware/software ที่ใชและระบบสามารถรองรับการใชงานภาษาไทยอยางเต็ม
รูปแบบ
2. ระบบการสรางบทเรียน (Content management) ระบบประกอบดวยเครื่องมือ
ในการชวยสราง content ระบบสามารถใชงานไดดีทั้งกับบทเรียนในรปู text – based และ
บทเรียนใน ู รปแบบ Streaming media
3. ระบบการทดสอบและประเมินผล (Test and Evaluation System) มีระบบคลัง
ขอสอบโดยเปนระบบการสุมขอสอบสามารถจับเวลาการทําขอสอบและการตรวจขอสอบ
อัตโนมัติพรอมเฉลย รายงานสถิติคะแนน และสถิติการเขาเรียนของนักเรียน
4. ระบบสงเสริมการเรียน (Course Tools) ประกอบดวยเครื่องมือตางๆ ที่ใช
ื ส่อสารระหวางผูเรียน – ผูสอน และผูเรียน - ผูเรียน ไดแก webboard และ chatroom โดย
สามารถเก็บ History ของขอมูลเหลานี้ได
5. ระบบจัดการขอมูล (Data Management System) ประกอบดวยระบบจัดการไฟล
และโฟลเดอรผูสอนมีเนื้อที่เก็บขอมูลบทเรียนเปนของตนเอง โดยไดเนื้อที่ตามที่ผูดูแลระบบ
กําหนดให
สรุปไดวาองคประกอบของ LMS ประกอบดวย 5 สวน คือ ระบบจัดการหลักสูตร
(Course Management) มีกลุมผูใชงานแบงเปน 3 ระดับ คือ ผูเรียน ผูสอนและผูดูแลระบบ
ระบบการสรางบทเรียน (Content Management) ประกอบดวย เครื่องมือในการชวยสราง
เนื้อหา Content ระบบการทดสอบและประเมินผล มีระบบคลังขอสอบ ระบบสงเสริมการเรียน
ประกอบดวยเครื่องมือตางๆ ที่ใช ื ส่อสารระหวางผูเรียนกับผูสอน และผูเรียนกับผูเรียน ไดแก
เว็บบอรด และ หองสนทนา ระบบจัดการขอมูล ประกอบดวย ระบบจัดการไฟลและโฟลเดอร
กลุมผูใชงานระบบการจัดการการเรียนการสอน
กลุมผูใชงานระบบการจัดการการเรียนการสอน แบงเปน 3 ระดับ ไดแก
1. ผูเรียน (Learner or Student) สามารถใชงานจากระบบ LMS ไดดังนี้
- สามารถเลือกเรียนในวิชาที่สนใจตามอัธยาศัย
- เรียนรูไดเองโดยอิสระจากทุกที่ทุกเวลา
- มีปฏิสัมพันธกับผูสอนและผูเรียนในกลุมได
- มีเครื่องมือวัดผลการเรียนรู
- ออกแบบบทเรียนใหมีเนื้อหานาสนใจ
- เก็บประวัติการเรียน และมีการรับรองผลการเรียน
- มีเครื่องมืออํานวยความสะดวกในการเรียนเชน ตารางนัดหมาย สมุดบันทึก
2. ผูสอน (Instructor or Teacher) สามารถใชงานจากระบบ LMS ไดดังนี้
- สามารถติดตามความกาวหนาของผูเรียน
- ให ํ คาปรึกษาปญหาในบทเรียน
- สรางและปรับปรุงหลักสูตร
- ตรวจสอบผลการเรียน
3. ผูดูแลระบบ (Administrator)
- จัดการหลักสูตร
- กําหนดตารางสอน
- ดูแลระบบทั้งหมด
- รวบรวมสถิติและจัดทํารายงาน